วันพุธที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2554

(12) พึงสวมอาภรณ์แห่งแสงสว่าง


จากพระโอวาทนี้
        คำว่า "จิต" หมายถึง จิตเดิมแท้
        คำว่า "วิญญาณ" มีความหมาย 2 ระดับคือ
           (ก) วิญญาณที่เป็น "การรับรู้" ในทุกๆ ระดับของชีวิต
           (ข) วิญญาณที่เป็น "ภาวะตัวตน" อันให้จิตเสวยผลแห่งการกระทำนั้น 
            บ้านเก่า หมายถึง "พระนิพพาน" (ดับกิเลสและกองทุกข์)
         ความเป็นหนึ่ง คือ ความเป็นหนึ่งของธรรมะกับชีวิต
จงสวม "อาภรณ์แห่งแสงสว่าง" โดยมีหลักปฏิบัติ ดังนี้
         สิกขาบทที่ 1 "จงใช้พลัง 12 ประการ"
                              ทักษะปฏิบัติทางวิถีจิต
                              เพื่อฉุดช่วย..เยียวยา..เสริมพลัง
                              ขจัดอุปสรรค..สร้างความมั่นคง..เกิดกุศล
        สิกขาบทที่ 2  "เราคือพุทธะ"
                              มนุษย์ทุกคนล้วนมีธรรมชาติแห่งการตื่นรู้
                              พึงเจริญปัญญาสว่าง
        สิกขาบทที่ 3  "เมตตาสว่างภาวนา"
                              เพราะเมตตาธรรมค้ำจุนโลก
                              พึงให้ความรักความเมตตาแผ่ไพศาลไกล



วันอังคารที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2554

พันธกิจของกัลยาณชนแห่งแสงสว่าง


       (1) พึงมอบ..ชีวิตให้พระธรรม..เถิด
       เพราะธรรมะย่อมคุ้มครองผู้ประพฤติธรรม
       ผู้ใดเห็นธรรม..ผู้นั้นเห็นตถาคต
       และมีองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้อยู่เหนือเศียรเกล้าเป็นผู้นำทาง
       ที่สำคัญพระองค์ทรงฝาก "รอยพระบาท" ให้เราเจริญรอยตามดังนี้


       (2) จงเป็นอิสระจากวัฏจักรชีวิตด้วยการน้อมนำ..
       หลักธรรมมา ก. สร้างสรรค์ (พลังแห่งจินตนาการ)
                          ข. รักษา (พลังแห่งการเยียวยา) 
                          ค. แปรเปลี่ยน (พลังแห่งการควบคุมกำกับ) 
       ชีวิตตนให้อยู่ในสัมมาวิถีจริงเพื่อ "ดับทุกข์" (นิพพาน) 
       และแบ่งปันประสบการณ์การออกจากกองทุกข์
       มอบเป็นธรรมทานให้เกิดประโยชน์ต่อผู้อื่นด้วย

      (3) สร้างสรรค์สังคมอริยะ ให้เป็นเอกภาพตามเหตุปัจจัย
      ตามกำลังสติปัญญา ตามหน้าที่แห่งบุญสัมพันธ์
      อย่างเข้าใจจุดประสงค์จริง 



กัลยาณชนแห่งแสงสว่าง


จุดประสงค์ในการแพร่ธรรม


"จิตสำนึกแท้จริงอันตรงธรรม" ย่อมสั่นสะเทือนออกมาจากภายในสู่โลกแห่งปรากฏการณ์


(11) ทำอย่างไร ? ให้ธรรมะภายในตัวเราทุกคนปรากฏจริง

วิถีอนุตตรธรรม ธรรมะที่ทรงคุณอันประเสริฐสูงสุด
                              มี 3 ระดับให้พึง "รับรู้ด้วยใจจริง" แห่งตน
ธรรมะแท้จริง          คุณลักษณ์แห่งธรรมะที่ไร้รูปลักษณ์ (สุญญตาภาวะ)
                             ที่รับรู้ด้วยตาหูจมูกปากกายมิได้ แต่พึงรับรู้ด้วย..
                             ใจจริงที่ว่างๆ แห่งตน ซึ่งเป็นปัตจัตตัง
หลักธรรมแท้จริง     คือ เมตตา+มโนธรรม+จริยธรรม+สัตยธรรม+ปัญญา
                             (ทั้งหมดรวมเป็นหลักสัจธรรม) คุณสมบัติแห่ง..
                             จิตภาวะตามปกติ..ที่ใจพึงสะท้อนสู่ชีวิตจริง
                             ในโลกแห่งปรากฏการณ์นี้ (ระบบธรรมชาติ)
พระโองการจริง      ด้วยคุณค่าแห่งเหตุปัจจัยในชีวิตของเรา
                             พึง..กำหนดปณิธานธรรม..สู่พฤติกรรมจริงของตน
             รับรู้สิ่งต่างๆ เพื่อจะดำเนินตามทาง (มรรค)
             ด้วย "ใจจริงที่มีความสั่นสะเทือนอย่างตรงพระธรรม"
             (ใจฟ้า..ช่วยไม่หวังผล ใจดิน..รองรับไม่รังเกียจ)
             มนุษย์นั้นพึงเลียนแบบ "ใจฟ้าดิน"
             และนี่คือ เมตตาสว่างภาวนา

วันอาทิตย์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2554

ตรวจสอบและแปรเปลี่ยนตนเอง เพื่อดับเหตุแห่งภัยพิบัติ

นำพลังธรรมจากจิตเดิมแท้ตรวจสอบ พฤติกรรมตน

เมื่อพบเห็น "ประสบการณ์เดิม" "ความคิดความเชื่อ" 
"แนวโน้มนิสัย" และ/หรือ "ความเคยชิน" ตามลักษณะดังกล่าว
จง หยุด และ แปรเปลี่ยนตนเอง ทันที (คุณทำได้)

(10) การปวารณาตัวเพื่อรักษาศีลธรรม

ลำดับปฏิบัติ
1. ในที่นี้..เราพนมมือขึ้น "ตั้งสติ"
    เพื่อจะอธิษฐานแสดงความตั้งใจมุ่งมั่น
    ประสานจิตและกาย ในการรักษาศีลปฏิบัติธรรม
    แล้วจะพิจารณา..ตรวจสอบ..แปรเปลี่ยน..รวมถึงควบคุมตน
    ให้อยู่ในครรลองแห่งศีลธรรม..ตามทางแห่งสัมมาวิถี
    (สัมมาวิถี คือ การปฏิบัติมนุษย์ธรรมให้เกิดคุณสัมพันธ์
                      ตามทางแห่งมรรคมีองค์แปดนั้น)

2. โดย สวดและอธิษฐาน อภิเษกตามแบบที่กำหนด

3. ใช้จิตเดิมแท้ "ตรวจสอบ" พฤติกรรมตนเอง ตามบทความต่อไป 

วันเสาร์ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2554

บทสัจจคาถาพระเมตตายะ


   ฝอซัวหมีเล่อจิ้วขู่จิง                     หมีเล่อเซี่ยซื่อปู้เฟยชิง
   หลิ่งเป่าฉีหลูหลิงซันตี้                 เหนี่ยนฮวาอิ้นเจิ้งเข่าซันเซิ่ง
   ลั่วไจ้จงเอวี๋ยนซันซิงตี้                 ต้าเจิ้งซื่อชวนอวั๋งเถาซิน
   เทียนเจินโซวเอวี๋ยนกว้าเซิ่งเฮ่า    เติ่งไต้สือจื้อเตี่ยนเสินปิง
   อวิ๋นเหลยเจิ้นไคอู้จี๋ถู่                    เทียนเซี่ยเสินกุ่ยปู้อันหนิง
   ชินไจ้เหยินเทียนจงฮว๋าหมู่           จิ่วเหลียนเซิ่งเจี้ยวกุยซั่งเซิ่ง
   เทียนฮวาเหลาหมู่ฉุยอวี้เซี่ยน       โซวเอวี๋ยนเสี่ยนฮว่าไจ้กู่ตง
   หนันเป่ยเหลี่ยงจี๋เหลียนจงซวี่       ฮุ่นเอวี๋ยนกู่เช่อไจ้จงอยัง
   เหลาหมู่เจี้ยงเซี่ยทงเทียนเชี่ยว   อู๋อิ่งซันเฉียนตุ้ยเหอถง
   อิงเอ๋อเหย้าเสี่ยงกุยเจียชวี่           ฉือเนี่ยนตังไหลหมีเล่อจิง
   ย่งซินฉือเนี่ยนฝอไหลจิ้ว              ตั๋วตั่วจินเหลียนชวี่เชาเซิง
   ซึเต๋อซีไหลไป๋หยังจื่อ                  เซี่ยงเอ๋อเตี๋ยนเถี่ยฮว่าเฉิงจิน
   เหม่ยยื่อจื้อซินฉังฉือเนี่ยน            ซันไจปาหนั่นปู้ไหลชิน
   เหย้าเสี่ยงเฉิงฝอฉินหลี่ไป้           ฉังฉือชงหมิงจื้อฮุ่ยซิน
   ซิวทิงเสียเหยินหูซัวฮว่า               เหลาซวนอี้หม่าเนี่ยนอู๋เซิง
   เหลาหมู่เจี้ยงเซี่ยเจินเทียนโจ้ว     ย่งซินฉือเนี่ยนโหย่วเสินทง
   หมั่นเทียนซิงโต่วโตวเซี่ยซื่อ        อู่ฟังเลี่ยเซียนเซี่ยเทียนกง
   เก้อฟังเฉิงหวงไหลตุ้ยเฮ่า            เป้าซื่อหลิงถงฉาเตอชิง
   ซันกวนฉือเปยต้าตี้จู่                    เซ่อจุ้ยซันเฉาจิ้วจ้งเซิง
   จิ้วขู่เทียนจุนไหลจิ้วซื่อ                ชินเตี่ยนเหวินปู้เจียตี้เสิน
   ปาต้าจินกังไหลฮู่ฝ่า                    ซื่อเว่ยผูซ่าจิ้วจ้งเซิง
   จิ๋นหลิ่งซันสือลิ่วเอวี๋ยนเจี้ยง         อู๋ไป่หลิงกวนจิ่นสุยเกิน
   ฝูจู้หมีเล่อเฉิงต้าเต้า                    เป่าอิ้วเซียงเอ๋อเต๋ออันหนิง
   เป่ยฟังเจินอู่เหวยเจี้ยงไซว่           ชิงเหลี่ยนหงฝ่าเสี่ยนเสินทง
   เฉอฉี่เจ้าฉีเจอยื่อเอวี้ย                 โถวติ่งเซินหลัวชีเป่าซิง
   เวยเจิ้นเป่ยฟังเหวยโซว่โส่ว         ซู่ฉิ่งจูเอ้อกว้าเจี่ยปิง
   ตาจิ้วเอวี๋ยนเหยินเซียงเอ๋อหนวี่    หั่วกวงลั่วตี้ฮว่าเหวยเฉิน
   ซื่อไห่หลงอวั๋งไหลจู้เต้า              เก้อเจี้ยเสียงอวิ๋นชวี่เถิงคง
   สือฟังเทียนปิงฮู่ฝอเจี้ย                เป่าอิ้วหมีเล่อชวี่เฉิงกง
   หงหยังเหลี่ยวเต้ากุยเจียชวี่         จ่วนเต้าซันหยังหมีเล่อจุน
   อู๋อวั๋งชื่อลิ่งจี้เซี่ยเซิง                   โซวฝูหนันเอี๋ยนกุยเจิ้งจง
   ไหลอวั่งเจ้าเซี่ยเจินเอี๋ยนโจ้ว       ฉวนเซี่ยตังไหลต้าจั้งจิง
   อิงเอ๋อช่าหนวี่ฉังฉือเนี่ยน             เสียเสินปู้กั่นไหลจิ้นเซิน
   ฉือเนี่ยนอี๋เปี้ยนเสินทงต้า            ฉือเนี่ยนเหลี่ยงเปี้ยนเต๋อเชาเซิง
   ฉือเนี่ยนซันเปี้ยนเสินกุ่ยพ่า          อวั่งเหลี่ยงเสียหมอฮว่าเหวยเฉิน
   ซิวฉือเจี๋ยเน่ยสวินลู่จิ้ง                 เนี่ยนฉี่เจินเอี๋ยนกุยฝอลิ่ง

                   หนันอู๋เทียนเอวี๋ยนไท่เป่าอาหมีถัวฝอ

(9) Ascension สู่ยุคทองแห่งพระศรีอริยเมตไตรย


เมื่อ "พระธรรม" เฉิดฉายขึ้น
ด้วยเมตตาบารมีแห่งพระศรีอริยเมตไตรย
พลังแห่งการอุทิศเสียสละอนุคราะห์ชาวโลก
ของพระพุทธะจี้กง+พระโพธิสัตต์จันทรปัญญา
เพื่อโปรดสามโลก "ยกระดับ" ชีวิตมนุษย์และโลก 
ท่ามกลางภัยพิบัติทั้งหลาย ให้มนุษย์รู้ชัดถึง
ประตูพุทธะ..ทาง..สิ่งวิเศษ 3 ประการ เพื่อยกระดับชีวิต 
ไม่ว่าจะเป็นระดับจิต..ระดับวิญญาณ..รวมกระทั่งระดับกาย
สำหรับ..ผู้มีบุญสัมพันธ์ทั้งหลาย
อย่าให้ "ข่าวประเสริฐ" นี้ล่องลอยอยู่ตามสายลม




วันศุกร์ที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2554

(8) ร่วมกันปฏิบัติให้ "ศีลธรรม" กลับมาเถิด

ฟังเพลงธรรมะให้เบิกบานเถิดหนอ


เพลง "ถ้าศีลธรรมไม่กลับมาโลกาจะพินาศ"
(ขออนุญาต..วงจีวัน Band นำเพลงธรรมะดีๆ มาประชาสัมพันธ์บอกต่อนะครับ)


เพลง "ธรรมมาตา"

(7) ภัยพิบัติ



มนุษย์เราจะมี "เวลา" เหลือแค่ไหนฤๅ ? 
ในเมื่อโลกเรากำลังเผชิญหน้ากับปัญหาวิกฤติ 
เป็นหายนะอย่างใหญ่หลวง นั่นคือ "ภัยพิบัติ"
  1. จะเกิดพายุลมแรง แผ่นดินไหว
  2. จะเกิดอัคคีภัย
  3. จะเกิดอุทกภัย
  4. จะเกิดฟ้าผ่า
  5. จะเกิดร้อนเกินไป หนาวเกินไป
  6. จะเกิดสารพิษต่างๆ
  7. จะเกิดกาฬโรคต่างๆ
  8. จะเกิดภัยสงคราม ข้าวยากหมากแพง
  9. จะเกิดอาฆาตพยาบาทเบียดเบียนกันเอง

สิ่งที่ไม่เคยเห็นก็จะได้เห็น สิ่งที่ไม่เคยเจอก็จะได้เจอ
จงตระหนักและ "ตั้งสติ" โดยไม่ประมาท (อย่าตระหนกกลัว)






ภาค 2 (6) ประตูพุทธะ


   ท่ามกลางภัยพิบัติทั้งหลายในยุคสมัยปัจจุบัน
   ด้วยเมตตาบารมีแห่งพระศรีอริยเมตไตรย
   ก่อให้เกิด บุญวาระ โปรดสามโลก 
   ผู้มี บุญสัมพันธ์ จะได้รับข่าวประเสริฐ
   มีโอกาสเข้าร่วมโครงการ "ฟื้นฟูจิตเิดิมแท้"
   พระวิสุทธิอาจารย์ย่อมโปรดเมตตาเปิด จุดทางสว่าง ให้
   และครั้งหนึ่งพระองค์ทรงประทานพระโอวาท 
   ขยายความหลักธรรมในแก้ววิเศษ 3 ประการไว้ดังนี้
             บัดนี้ "ประตูพุทธะ" เปิดแล้ว
             พระพุทธะองค์นี้ต้อง..สว่าง
             นี่แหละ ! ประตูสำคัญไปสู่หนทางตรง
             ความหมายของรหัสคาถา 
               นิพพาน เวียนธรรมจักร เมตตา
             และการทำ จิตใจให้บริสุทธิ์ เหมือนเด็ก
             นี่คือ ความหมายแท้จริงของลัญจกร
   เหลือเพียงสิ่งสุดท้ายเท่านั้น ที่จะพ้นทุกข์ได้สุข
   ก้าวสู่ยุคทองแห่งพระศรีอาริย์ คือ "เดิน"
   พร้อมสร้าง บุญกุศล อย่างเสมอต้นเสมอปลาย
   ตลอดระยะเวลาที่ "เหลืออยู่" ในชีวิตของเราเอง